ชื่อสมุนไพร |
ขิง
|
|
|
ชื่อล้านนา |
ขิงเผือก (เชียงใหม่) สะเอ(กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) ขิง ขิงแกรง ขิงแดง (จันทบุรี) , ขิงบ้าน, ขิงแครง, ขิงป่า, ขิงเขา, ขิงดอกเดียว (ภาคกลาง), เกีย (จีนแต้จิ๋ว)
|
ชื่อสามัญ |
Ginger, Gingiber, Zingiber
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Zingiber officinale Roscoe.
|
ชื่อวงศ์ |
ZINGIBERACEAE
|
สรรพคุณทั่วไป |
แก้ไอ ขับปัสสาวะ แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ แน่น เมารถ เมาเรือ คลื่นไส้ อาเจียน
|
ส่วนที่ใช้เป็นยา |
เหง้าแก่สด ราก
|
สรรพคุณตามส่วนที่ใช้ทำยา |
ในเหง้าขิงแก่จะมีปริมาณของสารจำพวก oleo-resin (น้ำมันชัน) สูง ซึ่งเป็นสารที่ทำให้ขิงมีรสเผ็ดและมีกลิ่นหอม ส่วนประกอบของน้ำมันชัน คือสารจำพวก Ketone ได้แก่ gingerol, shogaol และzingerone นอกจากนี้ยังมีน้ำมันหอมระเหยประกอบด้วยสาระสำคัญ 3 ชนิด คือ bisabolene, zingiberene และ zingiberol
|
แหล่งอ้างอิง |
ฟรินน์ดอทคอม.2558.[ออนไลน์].แหล่งที่มา http://frynn.com/ขิง.18 สิงหาคม 2558
|
|
สรรพคุณสมุนไพร.(ขิง).2558.[ออนไลน์].แหล่งที่มาhttp://www.rspg.or.th/plants_data/herbs/herbs_11_1.htm 18 สิงหาคม 2558
|
|
นายวุฒิ วุฒิธรรมเวช.2540.สารานุกรมสมุนไพรรวมหละกเภสัชกรรมไทย . โอเอส.พริ้นติ้ง เฮาส์ : นายประสิทธิ์ สันติวัฒนา.
|
|
ภัสรา ชวนประดิษฐ์และคนอื่นๆ .2545 การผลิตสมุนไพรและเครื่องเทศ.พิมพ์ครั้งที่ 1 .โรงพิมพ์ชุมนุ
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
| |