ชื่อสมุนไพร |
ขมิ้นชัน
|
|
|
ชื่อล้านนา |
ขมิ้น ขมิ้นแกง ขมิ้นชัน ขมิ้นหยวก (เชียงใหม่) สะยอ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) ตายอ(กำแพงเพชร) ขมิ้นหัว ขี้มิ้น หมิ้น(ใต้)
|
ชื่อสามัญ |
Turmeric
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Curcuma Longa Linn.
|
ชื่อวงศ์ |
ZINGIBERACEAE
|
สรรพคุณทั่วไป |
แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ แน่น จุกเสียด รักษาอาการโรคกระเพาะ ขับลม แก้ ท้องร่วง แก้บิด แก้ผดผื่นคัน พิษมดกัด ยุงกัด ใส่บาดแผลสด หรือ แก้เคล็ดขัดยอก
|
ส่วนที่ใช้เป็นยา |
เหง้าขมิ้นชันสด และแห้ง
|
สรรพคุณตามส่วนที่ใช้ทำยา |
เหง้าขมิ้นชันประกอบด้วยน้ำมันหอมระเหย (Volatileoil) มีสีเหลืองอ่อน มีสารสำคัญคือ สารเทอร์เมอโรน (turmerone) และซิงจีเบอรีน (zingiberene) สารกลุ่มเซสคลิเทอร์ปีน (sisquiterpenes) ไมโนเทอร์ปีน (minoterpenes) และสารอื่น ๆ อีกหลายชนิด และมีสารที่สำคัญประเภทเคอร์ดูมินอยด์ (curcuminoids) ซึ่งเป็นสารสีเหลืองประกอบด้วยเคอร์คูมิน (curcumin) เดสเมทอกซีเดอร์คูมิน (desmethoxycurcumin) และบิสเดสเมือกซีเดอร์คูมิน (bisdesmethoxycurcumin)
|
แหล่งอ้างอิง |
http://health.kapook.com/view42014.html
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
| |