ชื่อสมุนไพร |
หญ้าคา
|
|
|
ชื่อล้านนา |
เก้อฮี (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) คาหลวง , คา (ภาคกลาง) ลาลาง (มลายู) ลาแล (มลายู-ยะลา) แปะเหม่า กึง เตี่ยมเชากึง(จีน)
|
ชื่อสามัญ |
Thatch grass
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Imperata cylindrica Beauv.
|
ชื่อวงศ์ |
GRAMINEAE
|
สรรพคุณทั่วไป |
ช่อดอก : รสชุ่ม สุขุม ใช้ห้ามเลือด แก้ปวด อาเจียนเป็นเลือด กระอักเลือด บาดแผลจากของมีคม , ราก : รสชุ่ม เย็น ใช้ห้ามเลือดขับปัสสาวะ แก้ไข้ไอ กระหายน้ำ อาเจียนเป็นเลือด เลือดกำเดาออก ความดันเลือดสูง ปัสสาวะขัด บวมน้ำ ดีซ่าน ประจำเดือนมาไม่ปกติ , ใบ : ใช้ภายนอก ต้มน้ำอาบ แก้ลมพิษ ผื่นคัน และปวดเมื่อยหลังคลอด
|
ส่วนที่ใช้เป็นยา |
ใช้ราก ดอก ขน (ดอกแก่) และใบ
|
สรรพคุณตามส่วนที่ใช้ทำยา |
หญ้าคามี Aurndoin, Cylindrin
|
แหล่งอ้างอิง |
ยุวดี จอมพิทักษ์, 2532, รักษาโรคด้วยสมุนไพร, สำนักพิมพ์ หอสมุดกลาง 09, กรุงเทพฯ.
|
|
ปราโมทย์ ศรีภิมรมย์, พ.ต.ต.,2540, ชุมนุมสมุนไพรไทย, สำนักพิมพ์หอสมุดกลาง 09, กรุงเทพฯ.
|
|
วุฒิ วุฒิธรรมเวช, 2540, เภสัชกรรมไทยรวมสมุนไพร, พิมพ์ครั้งที่2, สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร,
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
| |