ชื่อสมุนไพร |
การบูร
|
|
|
ชื่อล้านนา |
การบูร (ภาคกลาง) อบเชยญวน พรมเส็ง (เงี้ยว) เจียโล่ (ประเทศจีน) อบเชยจีน
|
ชื่อสามัญ |
Camphor Tree, Laurel Camphor, Gum Camphor, Formosan Camphor
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Cinnamomumcamphora (L .) J.S. Presl.
|
ชื่อวงศ์ |
LAURACEAE
|
สรรพคุณทั่วไป |
มีสรรพคุณบำรุงธาตุ ขับเสมหะ ขับลม แก้จุกเสียดแน่นเฟ้อ แก้ปวดท้อง ท้องร่วง ขับเหงื่อ ใช้ผสมในยาหม่อง ยาขี้ผึ้ง ยาครีมทาแก้เคล็ดบวม ขัดยอก แพลง แก้พิษแมลงสัตว์กัดต่อย และโรคผิวหนังเรื้อรัง
|
ส่วนที่ใช้เป็นยา |
ลำต้นและราก
|
สรรพคุณตามส่วนที่ใช้ทำยา |
เนื้อไม้ เมื่อนำมากลั่นด้วยไอน้ำ จะได้การบูรและน้ำมันหอมระเหย รวมกันประมาณ 1% ประกอบด้วย limonene, p-cymol, orthodene, salvene, caryophyllen, linalool, cineole, eugenol, acetaldehyde และ betelphenol ราก มีน้ำมันหอมระเหย 3% ประกอบด้วย camphor, safrole, carvacrol, phellandene, limonene, pinene, camphene, fenochen, cadinene, azulene, citronellol, piperonylic acid, cineol, terpineol, piperiton, citronellic acid ใบ พบ camphor และ camperol
|
แหล่งอ้างอิง |
http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=12
|
|
http://www.samunpri.com/?s=%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9A%E0%B8%B9%E0%B8%A3
|
|
http://www.shc.ac.th/learning/botanical-garden/22.htm
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
| |