ชื่อสมุนไพร |
อบเชยเทศ
|
|
|
ชื่อล้านนา |
อบเชย อบเชยต้น มหาปราบ เซียด ฝักดาบ (พิษณุโลก) สุรามริด (ภาคใต้, พิษณุโลก, นครราชสีมา) พญาปราบ (นครราชสีมา) ฮักแกง โกเล่ (กะเหรี่ยง-กำแพงแสน) เนอม้า (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี) โมง โมงหอม (ชลบุรี)
|
ชื่อสามัญ |
Cinnamon Tree
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Cinnamomum verum J.Presl
|
ชื่อวงศ์ |
LAURACEAE
|
สรรพคุณทั่วไป |
เป็นส่วนผสมในยาหอมต่าง ๆ โดยใช้ส่วนของเปลือกลำต้น ใช้ในการแก้จุกเสียด แน่นท้อง หรือ ใช้ในการทำยานัตถุ์ใช้สูดดม เพื่อเพิ่มความสดชื่น ลดอาการอ่อนเพลีย แก้โรคท้องร่วง เพราะมีส่วนช่วยต้านแบคทีเรียในกระเพาะอาหาร ขับปัสสาวะ ช่วยในการย่อยอาหาร และสลายไขมัน ส่วนเปลือกลำต้นอายุมากกว่า 6 ปี หรือ ใบกิ่ง ยังนำมาสกัดน้ำมันหอมระเหยได้อีกด้วย (Essential oil) ซึ่งจะมีมากในอบเชยญวณที่ให้น้ำมันหอมระเหย 2.5%
|
ส่วนที่ใช้เป็นยา |
เปลือกต้น ใบ
|
สรรพคุณตามส่วนที่ใช้ทำยา |
มีแทนนินสูงที่ให้รสฝาดจึงนิยมใช้ในยาตำรับแผนโบราณ ในอินเดียมีการค้นพบสารออกฤทธิ์ ที่ช่วยในการลดระดับน้ำตาลกลูโคสในเลือด คือ cinnomaldehyde ซึ่งแยกได้จากน้ำมันจากส่วนเปลือกของอบเชยลังกา
|
แหล่งอ้างอิง |
http://www.rspg.or.th/plants_data/herbs/herbs_06_11.htm
|
|
http://library.cmu.ac.th/ntic/lannafood/detail_ingredient.php?id_ingredient=254
|
|
http://sirinpharmacy.exteen.com/20100412/entry-1
|
|
http://www.ku.ac.th/e-magazine/april46/agri/plant.html
|
|
http://www.biogang.net/biodiversity_view.php?menu=biodiversity&uid=3141&id=88348
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
| |