ชื่อสมุนไพร |
อบเชยไทย
|
|
|
ชื่อล้านนา |
อบเชย อบเชยต้น มหาปราบ เซียด ฝักดาบ (พิษณุโลก) พญาปราบ (นครราชสีมา) ฮักแกง โกเล่ (กะเหรี่ยง-กำแพงแสน) เนอม้า (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี) สุรามริด (ภาคใต้, พิษณุโลก, นครราชสีมา) โมง โมงหอม (ชลบุรี) เคียด กะทังหัน
|
ชื่อสามัญ |
Cinnamon
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Cinnamomum sp.
|
ชื่อวงศ์ |
LAURACEAE
|
สรรพคุณทั่วไป |
เปลือกต้น - รสหอมสุขุม บำรุงดวงจิต แก้อ่อนเพลีย ทำให้มีกำลัง ขับผายลม บำรุงธาตุ แก้บิด แก้ไขสันนิบาต ใช้ปรุงยานัตถุ์ แก้ปวดศรีษะ , รากและใบ - รสหอมสุขุม ต้มดื่มแก้ไข้จากการอักเสบหลังคลอด ขับลม บำรุงธาตุ แก้ท้องอืดเฟ้อ (วุฒิ วุฒิธรรมเวช, 2540, 500)
|
ส่วนที่ใช้เป็นยา |
เปลือกต้น รากและใบ
|
สรรพคุณตามส่วนที่ใช้ทำยา |
อบเชยมีสรรพคุณทางยา เนื่องจากมีแทนนินสูงที่ให้รสฝาดจึงนิยมใช้ในยาตำรับแผนโบราณเช่น เป็นส่วนผสมในยาหอมต่าง ๆ
|
แหล่งอ้างอิง |
เพ็ญนภา ทรัพย์เจริญ, บรรณาธิการ. (2548). เครื่องปรุงในอาหารไทย. นนทบุรี: ศูนย์พัฒนาตำราการแพทย์แผนโบราณ.
|
|
วุฒิ วุฒิธรรมเวช. (2540). สารานุกรมสมุนไพร: รวมหลักเภสัชกรรมไทย. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
|
|
ฟรินน์ดอทคอม.2558.[ออนไลน์].แหล่งที่มา http://frynn.com/อบเชย/19 สิงหาคม 2558
|
|
http://www.ku.ac.th/e-magazine/april46/agri/plant.html
|
|
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%A2
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
| |